บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วิชา การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันพฤหัสบดี ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2557
ครั้งที่ 13 เวลาเรียน 08.30-12.20 น.
เวลาเข้าสอน 08.30 น. เวลาเข้าเรียน 08.25 น. เวลาเลิกเรียน 12.20 น.
ขั้นนำ : อาจารย์ทบทวนเนื้อหาที่เรียนอาทิตย์ที่แล้ว
ขั้นสอน: ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกมาสอบสอนและอาจารย์จะค่อยให้คำแนะนำ
กลุ่มที่ 2 เรื่องไข่
- การที่เราจะพูดคำคล้องจอง ครูควรพูดให้ฟัง 1 รอบและให้เด็กพูดตาม แต่ในตอนที่เด็กพูดเราควรจะมีการเขียนหรือวาดภาพเพื่อให้เด็กเข้าใจและจำได้ง่าย
- ในการสอนเราไม่ควรที่จะหันหลังให้เด็กเพราะเด็กไม่นั่งอยู่กับที่แน่นอนหากเราไม่หาอะไรมาจูงใจ
กลุ่มที่ 2 เรื่องไข่
- การที่เราจะพูดคำคล้องจอง ครูควรพูดให้ฟัง 1 รอบและให้เด็กพูดตาม แต่ในตอนที่เด็กพูดเราควรจะมีการเขียนหรือวาดภาพเพื่อให้เด็กเข้าใจและจำได้ง่าย
- ในการสอนเราไม่ควรที่จะหันหลังให้เด็กเพราะเด็กไม่นั่งอยู่กับที่แน่นอนหากเราไม่หาอะไรมาจูงใจ
- ในการเปรียบเทียบไข่ควรเปรียบสิ่งที่ใหญ่กับเล็กก่อนและค่อยนำไข่ขนาดกลางมาเปรียบ
กลุ่มที่ 3 เรื่องไก่
- ในการใช้คำถามประสบการณ์เด็กหรือถามอะไร เราไม่ควรบอกคำตอบเด็กและให้เด็กตอบตามคำตอบนั้นเพราะเด็กจะไม่เกิดกระบวนการคิด
- ในการทำวงกลม
การใส่เนื้อหาในวงกลมเราต้องงใส่เนื้อหาที่เหมือนกันก่อน
ขั้นสรุป :
เพื่อน : เพื่อนทุกคนมีเทคนิคการสอนที่ดีและก็มีบางคนที่ต้องปรับปรุงตามคำแนะนำของอาจารย์
อาจารย์ : อาจารย์มีคำแนะนำที่ดีให้กับแต่ละกลุ่มแต่บางที่ความคิดของอาจารย์กับนักศึกษาก็แต่ต่างกันไปดังนั้นอาจารย์ควรที่จะฟัง ความคิดเห็นของนักศึกษาก่อนไม่ควรขัดในบางจังหวะ
กลุ่มที่ 3 เรื่องไก่
- ในการใช้คำถามประสบการณ์เด็กหรือถามอะไร เราไม่ควรบอกคำตอบเด็กและให้เด็กตอบตามคำตอบนั้นเพราะเด็กจะไม่เกิดกระบวนการคิด
- ในการทำวงกลม
การใส่เนื้อหาในวงกลมเราต้องงใส่เนื้อหาที่เหมือนกันก่อน
- สิ่งที่เด็กตอบเราควรเขียนให้หมด เพราะเด็กอาจน้อยใจหรือเสียใจว่าตอบไปแล้วครูไม่สนใจในคำตอบเขา แต่หากเด็กตอบซ้ำกันเราควรบอกเด็กด้วยคำพูดเชิงบวก
กลุ่มที่ 4 เรื่องไก่
- ในขั้นนำในการเล่านิทานเราอาจใช้เพลงหรือคำคล้องจ้องก่อนก็ได้
- ในเนื้อหานิทานหากเราแทรกเพลงหรืออะไรที่ทำให้เด็กสนใจเราอาจแทรกเข้าไปในนิทานได้เช่น แม่ไก่ออกไข่ เราอาจนำเพลงแม่ไก่ออกไข่วันละฟอง
- ในเนื้อหานิทานหากเราแทรกเพลงหรืออะไรที่ทำให้เด็กสนใจเราอาจแทรกเข้าไปในนิทานได้เช่น แม่ไก่ออกไข่ เราอาจนำเพลงแม่ไก่ออกไข่วันละฟอง
กลุ่มที่ 5 เรื่องไก่
- วีดีโอที่เราจะนำมาให้เด็กดูไม่ควรยาวมาก เพราะเด็กอาจเบื่อ
- คำคล้องจองถ้าสั้นเราไม่จำเป็นต้องเขียนใส่กระดาษเพราะมันสินเปลือง
- ในการพูดเนื้อหาต้องพูดให้สอดคล้องกับวีดีโอที่นำมาให้เด็กดู
- คำคล้องจองถ้าสั้นเราไม่จำเป็นต้องเขียนใส่กระดาษเพราะมันสินเปลือง
- ในการพูดเนื้อหาต้องพูดให้สอดคล้องกับวีดีโอที่นำมาให้เด็กดู
ขั้นสรุป :
1.หลังจากที่สอบสอนแล้วให้นักศึกษาลองไปสอบสอนและอัดวีดีโอมา
2.อาจารย์บอกกำหนดการส่งงาน โดยมีงาานดังนี้ แผนเดียว แผนกลุ่ม CDสอบสอนแต่ละคน
2.อาจารย์บอกกำหนดการส่งงาน โดยมีงาานดังนี้ แผนเดียว แผนกลุ่ม CDสอบสอนแต่ละคน
การนำไปประยุกต์ใช้ :
จากที่ได้ฝึกสอบสอนเป็นกลุ่และฝึกเขียนแผนทำให้นำไปปรับใช้ในการเขียนแผนในรายวิชาอื่นๆได้ เพราะรูปแบบการเขียนแผนคล้ายๆกัน
การประเมินผล :
ตนเอง : วันนี้มีความสนใจในการนำเสนอการสอนของเพลงแต่ละกลุ่ม และในตอนนำเสนอสอบสอนของกลุ่มตนเองก็มีเทคนนิคในการใช้คำถามและสรุปได้บ้าง
จากที่ได้ฝึกสอบสอนเป็นกลุ่และฝึกเขียนแผนทำให้นำไปปรับใช้ในการเขียนแผนในรายวิชาอื่นๆได้ เพราะรูปแบบการเขียนแผนคล้ายๆกัน
การประเมินผล :
ตนเอง : วันนี้มีความสนใจในการนำเสนอการสอนของเพลงแต่ละกลุ่ม และในตอนนำเสนอสอบสอนของกลุ่มตนเองก็มีเทคนนิคในการใช้คำถามและสรุปได้บ้าง
เพื่อน : เพื่อนทุกคนมีเทคนิคการสอนที่ดีและก็มีบางคนที่ต้องปรับปรุงตามคำแนะนำของอาจารย์
อาจารย์ : อาจารย์มีคำแนะนำที่ดีให้กับแต่ละกลุ่มแต่บางที่ความคิดของอาจารย์กับนักศึกษาก็แต่ต่างกันไปดังนั้นอาจารย์ควรที่จะฟัง ความคิดเห็นของนักศึกษาก่อนไม่ควรขัดในบางจังหวะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น